ข้อสอบพันธะเคมี
1. ข้อใดเป็นการเกิดพันธะโคเวเลนซ์
ก. ธาตุโลหะกับธาตุโลหะนำเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาใช้ร่วมกันเป็นคู่ ๆ
ข. ธาตุโลหะกับธาตุอโลหะนำเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาใช้ร่วมกันเป็นคู่ ๆ
ค. ธาตุอโลหะกับธาตุอโลหะนำเวเลนซ์อิเล็กตรอนมาใช้ร่วมกันเป็นคู่ ๆ
ง. ธาตุโลหะให้อิเล็กตรอนแก่ธาตุอโลหะ
2. สารประกอบชนิดหนึ่ง ประกอบด้วย ซัลเฟอร์(S) 1 อะตอม ฟลูออรีน(F) 6 อะตอม เขียนสูตรโมเลกุลอย่างไร
ก. S6F1
ข. S1F6
ค. SF6
ง. S6 F
3. จงอ่านชื่อสารประกอบ H2O
ก. ไดไฮโดรเจนไตรออกไซด์
ข. ไดไฮโดรเจนออกไซด์
ค. ไตรไฮโดรเจนออกไซด์
ง. ไดไฮโดรเจนมอนออกไซด์
4. สารประกอบที่เกิดจากพันธะไอออนิก เรียกว่า
ก. สารประกอบไอออนิก
ข. สารโคเวเลนต์
ค. สารโลหะ
ง. สารโครงผลึกร่างตาข่าย
5. ข้อใดกล่าวถึงพันธะโคเวเลนต์ได้ถูกต้อง
ก. เกิดจากอโลหะใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน
ข. เกิดจากโลหะใช้อิเล็กตรอนร่วมกัน
ค. เกิดจากโลหะเสียอิเล็กตรอนให้กับอโลหะ
ง. เกิดจากอโลหะเสียอิเล็กตรอนให้กับโลหะ
6. ข้อใดสรุปถูกต้องเกี่ยวกับพลังงานพันธะในโมเลกุลที่มี C สร้างพันธะกัน
ก. พันธะเดี่ยว > พันธะคู่ > พันธะสาม
ข. พันธะเดี่ยว < พันธะคู่ < พันธะสาม
ค. พันธะเดี่ยว > พันธะคู่ < พันธะสาม
ง. พันธะเดี่ยว = พันธะคู่ = พันธะสาม
7. สมบัติของโลหะในข้อใดอธิบายการตีเป็นแผ่นของโลหะได้ดีที่สุด
ก. โลหะมีจุดเดือดจุดหลอมเหลวสูงมาก
ข. โลหะมีเวเลนต์อิเล็กตรอนที่เคลื่อนที่ได้อิสระ
ค. อิเล็กตรอนในก้อนโลหะรับและกระจายคลื่นแสงได้
ง. ไอออนบวกและไอออนลบในก้อนโลหะสามารถเลื่อนไถลได้
8. ข้อความต่อไปนี้ ข้อใดผิด
ก.สารประกอบไอออนิกมีจุดเดือดสูง
ข.สารประกอบไอออนิกเสถียรมาก เพราะมีแรงดึงดูดไฟฟ้าสถิตระหว่างไอออนต่างชนิดกันี่ี่
ค.สารประกอบไอออนิกมักจะเกิดระหว่างโลหะที่มีพลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 ต่ำกับอโลหะที่มี พลังงานไอออไนเซชันลำดับที่ 1 สูง
ง.โครงสร้างของสารประกอบไอออนิกมีลักษณะโครงผลึกร่างตาข่าย แต่ละไอออนจะมีไอออนต่างชนิด ล้อมรอบอยู่ด้วยจำนวนคงที่เสมอ
9.พลังงานที่เกี่ยวข้องในปฏิกิริยาที่กำหนดให้มีชื่อเรียงตามลำดับอย่างไร
ก.พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานแลตทิช พลังงานการระเหิด สัมพรรคภาพอิเล็คตรอน
ข.พลังงานไอออไนเซชัน พลังงานไฮเดรชัน พลังงานแลตทิช พลังงานการระเหิด
ค.สัมพรรคภาพอิเล็คตรอน พลังงานไฮเดรชัน พลังงานแลตทิช พลังงานการหลอมละลาย
ง.สัมพรรคภาพอิเล็คตรอน พลังงานแลตทิช พลังงานการระเหิด พลังงานพันธะ
10.ถ้า XY เป็นสารประกอบไอออนิกที่มีแผนผังแสดงขั้นตอนการเกิด
การเปลี่ยนแปลงพลังงานในขั้นใด มีการคายพลังงานและดูดพลังงานตามลำดับ
11. เอา ใส่ในบีกเกอร์ที่มีน้ำอยู่พอประมาณ เมื่อละลายน้ำ ปรากฏว่ามีหยดน้ำเกาะอยู่ข้างบีกเกอร์และเมื่อจับบีกเกอร์ดูจะรู้สึกเย็น อธิบายปรากฏการณ์นี้ได้ว่า
ก.พลังงานที่ใช้สลาย ออกเป็นไอออนในภาวะแก๊สน้อยกว่าพลังงานที่ได้คืนมาจากการที่ไอออน ในภาวะแก๊สรวมตัวกับน้ำ
ข.พลังงานที่ใช้สลาย ออกเป็นไอออนในภาวะแก๊สมากกว่าพลังงานที่ได้คืนมาจากการที่ไอออน ในภาวะแก๊สรวมตัวกับน้ำ
ค. พลังงานที่ใช้สลาย ออกเป็นไอออนในภาวะแก๊สสูงมากกว่าพลังงานที่ได้คืนมาจากการที่ ไอออนในภาวะแก๊สรวมตัวกับน้ำน้อยมาก
ง.ปรากฏการณ์นี้ยังอธิบายไม่ได้
12. การที่สารใดสารหนึ่งไม่ละลายน้ำนั้น เป็นเพราะ
ก.พลังงานของการละลายมีค่าเป็นลบ
ข.พลังงานไฮเดรชันของสารมีค่าน้อยกว่าพลังงานโครงร่างผลึกมาก
ค.พลังงานของการละลายมีค่ากับพลังงานโครงร่างผลึก
ง.พลังงานไฮเดรชันของสารมีค่าเป็นลบ
13. จากรูปกราฟ ข้อสรุปใดถูกต้อง
ก.อุณหภูมิเพิ่ม สาร A ละลายได้ดีขึ้น แสดงว่าพลังงานแลตทิซน้อยกว่าพลังงานไฮเดรชัน
ข.การละลายของสาร A จะคายความร้อนและละลายได้มากขึ้น แสดงว่าพลังงานแลตทิซมากกว่า พลังงานไฮเดรชัน
ค.การละลายของสาร B จะคายความร้อน แสดงว่า พลังงานไฮเดรชันมากกว่าพลังงานแลตทิซ
ง.การละลายของสาร B จะดูดความร้อน แสดงว่า พลังงานแลตทิซน้อยกว่าพลังงานไฮเดรชัน
14. ปฏิกิริยาในข้อใดเกิดตะกอนทั้งสองปฏิกิริยา
ก.
ข.
ค.
ง.
15. ปฏิกิริยาในข้อใดที่สามารถเขียนสมการไอออนิกสุทธิแสดงการเกิดปฏิกิริยาได้ทั้งสองปฏิกิริยา
ก.
ข.
ค.
ง.
16. เมื่อผสมสารละลายแคลเซียมคลอไรด์กับโซเดียมฟอสเฟตเข้าด้วยกัน ข้อใดคือสมการไอออนิกแสดง ปฏิกิริยาที่เกิดขึ้น
ก.
ข.
ค.
ง.
17. ถ้าต้องการเตรียม จะต้องนำสารคู่ใดมาผสมกัน
ก.
ข.
ค.
ง.
18. ผลึกไอออนิกแตกหักเมื่อมีแรงเข้าไปกระทำเพราะเหตุใด
ก.ประจุชนิดเดียวกันผลักกัน
ข.อิเล็กตรอนหลุดออกจากผลึก
ค.จำนวนประจุบวกและลบไม่เท่ากัน
ง.อิเล็กตรอนเคลื่อนที่เร็วขึ้น เนื่องจากมีพลังงานจลน์มากขึ้น
19. ข้อใดเป็นสมบัติเฉพาะตัวของของแข็งชนิดไอออนิก
ก.เป็นผลึก
ข.ละลายในน้ำได้
ค.มีจุดหลอมเหลวสูง
ง.นำไฟฟ้าได้ดีเมื่อหลอมเหลว
20. สาร A เป็นสารที่มีจุดเดือดและจุดหลอมเหลวสูง นำไฟฟ้าได้ดีทั้งในสถานะของแข็งและของเหลว อนุภาคสาร A ยึดเหนี่ยวกันไว้ด้วยพันธะชนิดใด
ก.พันธะโคเวเลนต์
ข.พันธะโคออร์ดิเนตโคเวเลนต์
ค.พันธะไอออนิก
ง.พันธะโลหะ